***ยินดีต้อนรับเข้าสู้เว็บไซต์การเรียนการสอน วิชา เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น 2204-2003***

 

หน่วยที่ 2
อุปกรณ์ระบบเครือข่าย

 

เนื้อหาสาระ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เป็นกลุ่มของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างที่ถูกนำมาเชื่อมต่อกันเพื่อให้ผู้ใช้สามารถติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล และใช้อุปกรณ์ต่างๆ ในเครือข่ายร่วมกันได้ ซึ่งการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นระบบเครือข่ายนั้นได้ จะต้องอาศัยอุปกรณ์สื่อสารในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่รับและส่งข้อมูลโดยผ่านทางสื่อกลาง


2.1 อุปกรณ์เชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เริ่มมาจากการที่ผู้ใช้ต้องการที่จะแลกเปลี่ยนข้อมูลกันอย่างมี
ประสิทธิภาพและรวดเร็ว คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่มีความสามารถในการประมวลผลข้อมูลในปริมาณ
มากอย่างรวดเร็วอยู่แล้ว แต่ไม่สามารถแชร์ข้อมูลนั้นกับคนอื่นอย่างมีประสิทธิภาพได้และการที่
คอมพิวเตอร์จะเชื่อมต่อกันเป็นครือข่ายได้ ต้องมีอุปกรณ์พื้นฐานดังต่อไปนี้


2.1.1 รีพีทเตอร์
          รีพีทเตอร์ (Repeater) เป็นอุปกรณ์ชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ทำงานอยู่ในชั้นกายภาพ
ของแบบจำลอง 0ร ทำหน้ที่ทวนสัญญาณข้อมูลที่ส่งผ่านตัวกลางเนื่องจากสัญญาณอาจจะเบาบางลง
ส่งผลให้ข้อมูลที่ส่งไปยังผู้รับเกิดความไม่ถูกต้องรีทเตอร์จะรับสัญญาณดิจิตอลเข้ามาจากนั้นรีพีทเตอร์
จะสร้างสัญญาณขึ้นมาเหมือนสัญญาณเดิมที่ส่งมาจากต้นทางและส่งสัญญาณที่สร้างใหม่นี้ต่อไปยัง
อุปกรณ์ตัวอื่นโดยผ่านตัวกลางด้วยหตุนี้การใช้รีกตอร์สามารช่วยขยายความยาวของสัญญาณทำให้
สามารถส่งสัญญาณไปได้ใกลขึ้นโดยที่สัญญาณไม่สูญหายดังรูปที่ 2.1


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รีพีทเตอร์

รีพีทเตอร์ถูกนำมาใช้กับเครือชยคอมพิวเตอร์ที่มีความยาวจำกัดหรือกรณีที่ต้องการเพิ่มจำนวน
เครื่องลูกข่ายมากขึ้นเพราะระยะทางที่ไกลมากสัญญาณที่ถูกส่งออกไปจะเริ่มผิดเพี้ยนและความเข้มของ
สัญญาณจะอ่อนลงรีพีทเตอร์ทำงานอยู่ในชั้นกายภาพมันจึงไม่ตรวจสอบว่าสัญญาณที่ส่งเป็นข้อมูลอะไร
ส่งมาจากที่ไหนและส่งไปที่ไหน ถ้ามีสัญญาณเข้ามารีพีทเตอร์จะทวนสัญญาณแล้วส่งต่อออกไปเสมอ
รีพีทเตอร์ไม่สามารถกลั่นกรองสัญญาณที่ไม่จำเป็นออกไปได้ ดังนั้นพีทเตอร์จึงไม่ได้มีส่วนช่วยจัดการ
จราจรหรือลดปริมาณข้อมูลที่สงออกมาบนเครือข่าย


2.1.2 บริดจ์
บริดจ์ (Bridge) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อเครือขำยคอมพิวเตอร์สองเครือชายเข้า
ตัวยกัน เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานในระดับชั้นกายภาพและระดับชั้นชื่อมโยงข้อมูลของแบบจำลอง osi ฉะนั้น
คาทำงานมันจะสร้างสัญญาณใหม่เมื่อได้รับสัญญาณทุกครั้ง และยังมารถตรวจสอบเลขที่อยู่ของ
เครื่องส่งต้นทางและเครื่องผู้รับปลายทางที่บรรจุอยู่ในข้อมูลได้ดังนั้นบริตจะทำหนาที่เป็นตัวกรองและ
ส่งผ่านข้อมูลไปยังส่วนตง ๆ ของระบบเครือข่าย ทำให้การชื่อมต่อระบบครือข่ายมีประสิทธิภาพโดยลด
การชนกันของข้อมูลและยังสามารถใช้ในการชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันได้ ดังรูปที่ 2.2
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ บริดจ์
รูปที่ 2.2 ลักษณะ Bridge

 

2.1.3 ฮับ
ฮับ (Hub) เป็นอุปกรณ์เชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ทำงานอยู่ในชั้นกายภาพของ
สวิตซ์ ดังรูปที่ แบบจำลอง Oร ฮับเป็นอุปกรณ์ที่มีคุณลักษณะเหมือนรี่พีทเตอร์แต่มีหลายพอรัต ฮับจะให้ในการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่อง โดยจะกระจายสัญญาณออกไปยังทุกพอร์ต

ดังรูปที่ 2.4


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ Hub

รูปที่ 2.4 ลักษณะ Hub
(ที่มา : htp.:l/portuguese.alibaba.com/)

การรับส่งข้อมูลของฮับเป็นแบบแพร่กระจาย (Broadcast) เมื่อฮับได้รับข้อมูลจากผู้ส่งฮับจะ ทำการรับส่งข้อมูลออกไปยังทุกพอร์ตโดยไม่รู้จุดหมายปลายทางของผู้รับว่าอยู่ที่ใด เครื่องทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเช้ากับ ข้อมูลจะพอร์ตของฮับจะได้รับข้อมูลเหมือนกัน ดังรูปที่ 2.5

 

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เชื่อมHub

 

รูปที่ 2.5 การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายด้วย Hนb
(ที่มา : http://www.lindy-usa.com/tips / hubsAndSwitches. html)

2.1.4 สวิตซ์
สวิต Swich) เป็นอุปกรณ์ชื่อมต่อเครือขายคอมพิวเตอร์ที่ทำงานอยู่ในชั้นกายภาพน สวิตซ์
ชั้นเชื่อมโยงข้อมูลของแบบจำลอง อร สวิตซ์มีลักษณะการทำงานคล้ายกับบริดจ์แต่มีพอร์ตหลายพอร์ต

สวิตซ์จะส่งข้อมูลที่ได้รับมาจากพอร์ตหนึ่งไปยังพอร์ตปลายทางเท่นั้น ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อการเชื่อมต่อกับพอร์ตที่เหลือสมารถส่งข้อมูลถึงกันและกันไต้ในวลาเตียวกัน ไม่ทำให้เกิดการชนกันของข้อมูลในเครือข่าย อีกทั้งอัตราความเร็วในการรับสงข้อมูลจะไม่ขึ้นอยู่กับจำนวนเครื่องคอมพิวตอที่เชื่อมต่อเข้ากับ สวิตซ์มีความสามารถในการทำงานมากกว่าฮับ โดยสวิตซ์จะทำงานในการรับส่งข้อมูลที่รู้ส่งฮับจะสามารถสงข้อมูลจากพอร์ตหนึ่งไปยังเฉพาะพอร์ตปลายทางที่ต้องการส่งข้อมูลไปทนั้นทำให้พอรัตที่เหลือทำการรับส่งข้อมูลได้พร้อมกันในเวลาเดียวกัน ทำให้สวิตซ์มีการทำงานในแบบที่ความเร็วในการรับส่งต่อเข้ากับข้อมูลจะไม่ขึ้นอยู่กับจำนวนของคอผิวตอร์หรืออุปกรณ์ที่เชื่อมต่อยู่กับสวิตซ์ตัวยเหตุนี้ทำให้ในปัจจุบัน
สวิตซ์จะได้รับความนิยมในการนำมาใช้งานในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มากกว่าฮับ

2.1.5 เราท์เตอร์
เราท์เตอร์ (Router) เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในชั้นกายภาพ ชั้นเชื่อมโยงข้อมูลและชั้น
เครือข่ายข้อมูล โดยเราท์เตอร์จะสร้างสัญญาณใหม่เมื่อไต้รับสัญญาณที่ถูกส่งเข้ามา แล้วตรวจสอบเลขที่
ของเครื่องผู้ส่งและเรื่องผู้รับที่ส่งมาเพื่อส่งไปยังเซ็กมที่ถูต้อง และจะตรวจสอบไอพีแอดเดรสของผู้รับ
เพื่อเลือกเส้นทางในการจัดส่งข้อมูลให้ไปถึงปลายทางได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง
เราท์เตอร์เป็นอุปกรณ์ที่มีการทำงานซับซ้อนกว่าบริดจ์ ทำหน้ที่เชื่อมต่อเครือข่ายคล้ายกับ
Nละ สวิตซ์ ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายแลนกับเครือข่ายแลน หรือการเชื่อมต่อเครือข่ายแลนกับเครือข่ายพอร์ต แวน เราท์เตอร์ทำหน้าที่กำหนดเส้นทางสำหรับรับส่งข้อมูลระหว่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกัน

2.1.6 เกตเวย์
เกตเวย์ (Gล) เป็นอุปกรณ์ที่ชยในการสื่อสารข้อมูล ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือชายที่
ลักษณะการเชื่อมต่อที่ต่างกันละมีโปโดคอลสำหรับการส่งรับข้อมูลต่างกัน เชื่อมต่อกันไต้ เช่น การ
เกตเวย์เชื่อมต่อเครือข่าย Ethernet ที่ใช้สายส่งแบบ บTP เข้ากับเครือข่าย Token Ring หรือเครือข่ายแลนเครื่องกับเครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม หรือระหว่างเครือข่ายแลนกับเครือข่ายแวน

21.7 เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย
ของ เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ชย(รอ) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหนัที่เป็นผู้ให้บริการต่างๆใน
ครือข่ายคอมพิวเตอร์ เมื่อมีผู้ใช้งานขอใช้บริการ เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายจะจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่ใน
เครื่องเพื่อให้บริการในทันที โดยทั่วไปเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (server) จะแบ่งเป็น2 แบบ คือ
1. แบบ Rack ที่มีลักษณะเป็นกล่องสีเหลี่ยมแบนยาว สามารถนำไปวางเรียงในตู้ Rack
ทำให้ประหยัดเนื้อที่ในการจัดก็บและใช้งานง่าย
2. แบบ Tower หนตาจะเหมือนกับเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่ว ๆ ไป
2.1.8 เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย
เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย(Client) เป็นคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่ร้องขอบริการและเข้าถึง
ข้อมูลที่จัดเก็บในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย หรือเป็นคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ในระบบเครือข่าย
2.1.9 โมเต็ม (Modem)
และทำหน้ำที่แปลงสัญญาณอะนาล็อกที่ได้จากสายโทศัพท์ให้กลับไปเป็นสัญญาณติจิตอล เพื่อส่งตดง
ยังเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทาง

2.2 อุปกรณ์รักษาความปลอดภัย
ในระบบครือข่ายนั้นมีผู้ใช้เป็นจำนวนมากทำให้มีรูปแบบการใช้งานที่หลากหลายทั้งผู้ที่ประสงค์fu
และประสงค์ร้าย ทำให้เกิดการบริการข้อมูลทั่วไปและอาชญากรรมทางต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงต้องมี
อุปกรณ์ที่ใช้รักษาความปลอดภัยในระบบเครือข่ายด้วย ดังนี้
2.2.1 ไฟร์วอลล์
ไฟร์วอลล์ (reพal) หมายถึง ซอฟต์แวร์หรือฮาร์ดแวร์ที่ทำหนาที่ตรวจสอบและควบคุม
ระบบข้อมูลที่มาจากอินเทอร์เน็ตหรือเครือข่าย โดยสามารถกำหนดได้ว่าข้อมูลนั้นอนุญาตให้ใครเข้าถึง

2.2.2 AAA Server
ซึ่งจะมีการตรวจสอบดังนี้ คือ
1. คุณเป็นใคร Who you are (Authentication) คอมพิวเตอร์
2. คุณได้รับอนุญาตให้ทำอะไรบ้าง What you are allowed to do (Authorization) สามา
3. คุณทำอะไรไปบ้าง What you actually do

2.3 อุปกรณ์ไร้สาย
ระบบเครือข่ายไร้สายเป็นระบบการสื่อสารข้อมูลที่นำมาใช้ทดแทน หรือเพิ่มต่อกับระบบเครือข่ายใช้สายแบบเดิมโดยใช้การส่งคลื่นความถี่วิทยุ RF และคลื่นอินฟราเรดในการรับและส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ผ่านทางอากาศทะลุกำแพงพดาน หรือสิ่งก่อสร้างอื่นๆ โดยปราศจากการเดินสาย ผู้ใช้งานสามารถเชื่อมโยงชำระบบเศรืยจากที่ใดก็ได้ที่อยู่ในรัศมีของสัญญาณ สามารถแก้ปัญหาเรื่องการติดตั้งสายสัญญาณในพื้นที่ที่ทำได้ยากทำให้ผู้ใช้สามารถคลื่อนย้ายไปทำงานยังที่ต่างๆ ได้ เครือข่ายไร้สายประกอบด้วยอุปกรณ์ต่างๆ ดังนี้

 

 

 

จำนวนผู้เข้าชม